กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
ปีที่ก่อตั้ง: 2528
ผู้อำนวยการนิคมฯ: นางพจนี ศิลารัตน์
ผู้พัฒนานิคมฯ: การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
โทรศัพท์: 0 5358 1061
โทรสาร: 0 5358 1060
Email: [email protected]
เว็บไซต์: https://nrie.ieat.go.th/th
นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ
สถานที่ตั้ง |
นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ |
พื้นที่โครงการ |
- เนื้อที่ทั้งหมด 1,788 ไร่ - เขตอุตสาหกรรมทั่วไป 363 ไร่ - เขตประกอบการเสรี 805 ไร่ - เขตพื้นที่พาณิชย์กรรม 66 ไร่ - เขตพื้นที่พักอาศัย 12 ไร่ - ที่ตั้งสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก 542 ไร่ |
พื้นที่ว่างในนิคมฯ |
ปัจจุบันไม่มีพื้นที่คงเหลือ |
ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ |
- กรุงเทพฯ 689 กิโลเมตร - สนามบินดอนเมือง 659 กิโลเมตร - ท่าเรือคลองเตย 689 กิโลเมตร - จังหวัดเชียงใหม่ 30 กิโลเมตร - สนามบินเชียงใหม่ 27 กิโลเมตร |
ราคาขาย/เช่า |
- เขตพาณิชยกรรม 2,416,000 บาท/ไร่ - เขตที่พักอาศัย 2,100,000 บาท/ไร่ |
รายละเอียดที่ตั้ง |
สำนักงานนิคม สำนักงานนิคมอุตสาหกรรม 60 หมู่ 4 ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 51000 |
อัตราค่าบริการ |
ค่าบำรุงรักษา - เขตอุตสาหกรรมทั่วไป 1,100 บาท / ไร่ / เดือน - เขตประกอบการเสรี 1,200 บาท / ไร่ / เดือน - เขตพาณิชยกรรม 600 บาท / ไร่ / เดือน - อาคารพาณิชย์ 300 บาท / หลัง / เดือน - เขตที่พักอาศัย อาคารชุด 100 บาท / ห้อง / เดือน ค่าน้ำประปา - 5,000 ลูกบาศก์เมตร แรก 14 บาท / ลูกบาศก์เมตร - 5,001 - 10,000 ลูกบาศก์เมตร 15 บาท / ลูกบาศก์เมตร - มากกว่า 10,000 ลูกบาศก์เมตร 16 บาท / ลูกบาศก์เมตร ค่าไฟฟ้า - ค่าไฟฟ้าเป็นไปตามการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทยกำหนด อัตราประมาณ 3 บาท / หน่วย ค่าโทรศัพท์ - อัตราค่าบริการตามที่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กำหนด ประมาณ 3 บาท / ครั้ง ค่าบำบัดน้ำเสีย - สูตรค่าบริการบำบัดน้ำเสีย (บาท/เดือน)=(100+aVi+bViSi/1,000)+Cp ค่าบริการกำจัดขยะ - นำมาส่งที่โรงกำจัดขยะ 5 บาท / กิโลกรัม - ไปจัดเก็บที่โรงงาน 7 บาท / กิโลกรัม |
สิ่งอำนวยความสะดวก |
ระบบน้ำประปา
ระบบถนน
ระบบบำบัดน้ำเสีย - มีระบบบำบัดน้ำทิ้งส่วนกลาง มีหลักการ คือ น้ำทิ้งจากโรงงานต่างๆ ภายในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ที่ผ่านกระบวนการบำบัดเบื้องต้นจากโรงงาน หรือน้ำทิ้ง ที่มีคุณลักษณะของน้ำทิ้ง ไม่เกินค่ามาตรฐานที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกำหนดและน้ำทิ้งจากกิจกรรมอื่นๆ จากไหลรวมกันลงในท่อรับน้ำทิ้งรวมเพื่อเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำทิ้งส่วนกลาง ซึ่งออกแบบเป็นระบบบ่อบำบัด (Pond หรือ Lagoon System) ซึ่งมีเนื้อที่รวมประมาณ 75 ไร่ ซึ่งปัจจุบันได้ดำเนินการปรับปรุงระบบบำบัดเป็น Aerated Lagoon โดยออกแบบให้สามารถรองรับน้ำทิ้งได้ประมาณสูงสุดวันละ 15,000 ลบ.ม และรับอัตราภาระบรรจุสารอินทรีย์ (Organic Loading Rate) 6,000 KgBoD/วัน ระบบบำบัดน้ำทิ้งส่วนกลางประกอบด้วยบ่อบำบัดซึ่งเป็นบ่อดินจำนวน 7 บ่อหลักดังนี้ -บ่อบำบัดที่ 1 เรียก Aerated Pond มีขนาดพื้นที่บ่อ 9.3 ไร่(14,800 ตารางเมตร) ลึก 4 เมตร ความจุของบ่อ 59,520 ลบ.ม. ระยะเวลาการกักเก็บน้ำ 5 วัน มีการติดตั้งเครื่องเติมอากาศแบบ Jet Aerator ขนาด 20 แรงม้า จำนวน 20 เครื่อง เพื่อทำหน้าที่ให้ออกซิเจนแก่แบคทีเรียในการกำจัดสิ่งสกปรกประเภทสารอินทรีย์ในน้ำทิ้ง -บ่อบำบัดที่ 2 เรียก Aerated Pond มีขนาดพื้นที่บ่อ 3.1 ไร่(4,800 ตารางเมตร) ลึก 2.5 เมตร ความจุของบ่อ 12,000 ลบ.ม. ระยะเวลาการกักเก็บน้ำ 1 วัน มีการติดตั้งเครื่องเติมอากาศแบบ Jet Aerator ขนด 20 แรงม้า จำนวน 8 เครื่อง เพื่อทำหน้าที่ให้ออกซิเจนแก่แบคทีเรียในการกำจัดสิ่งสกปรกประเภทสารอินทรีย์ในน้ำทิ้ง เพื่อลดภาระการทำงานของบ่อ 1 ซึ่งส่งผลทำให้ระบบบำบัดน้ำทิ้งส่วนกลางมีประสิทธิภาพสูงขึ้น -บ่อบำบัดที่ 3 Facultative Pond มีขนาดพื้นที่บ่อ 11.35 ไร่ (18,000 ตารางเมตร) ลึก 2.5 เมตร ความจุของบ่อ 45,000 ลบ.ม. ระยะเวลากักเก็บน้ำ 4 วัน มีการทำงานของแบคทีเรียทั้งแบบใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ในการกำจัดสิ่งสกปรกประเภทสารอินทรีย์ที่หลงเหลือจากบ่อ 2 โดยกระบวนการทางธรรมชาติ -บ่อบำบัดที่ 4 Facultative Pond มีขนาดพื้นที่บ่อ 11.35 ไร่ (18,000 ตารางเมตร) ลึก 2.5 เมตร ความจุของบ่อ 45,000 ลบ.ม. ระยะเวลากักเก็บน้ำ 4 วัน มีการทำงานของแบคทีเรียทั้งแบบใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนในการกำจัดสิ่งสกปรกประเภทสารอินทรีย์ที่หลงเหลือจากบ่อ 3 โดยกระบวนการทางธรรมชาติ -บ่อบำบัดที่ 5 และบ่อบำบัดที่ 6 Oxidation Ponds มีขนาดพื้นที่บ่อ 11 ไร่ (17,600 ตารางเมตร) และ 10.4 ไร่ (16,640 ตารางเมตร) ลึกบ่อละ 1.5 เมตร ความจุของบ่อ 26,400 ลบ.ม. และ 24,960 ลบ.ม ระยะเวลากักเก็บน้ำ 2 วันและ 2.08 วัน ตามลำดับ บริเวณจุดระบายน้ำจากบ่อที่ 6 เข้าไปยังบ่อที่ 7 มีระบบคลองวนเวียนที่มีการฆ่าเชื้อโรคและ Oxidized สาหร่ายโดยใช้คลอรีน เพื่อลดปริมาณของสาหร่ายที่จะเกิดขึ้น ซึ่งจะมีผลทำให้น้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดแล้วสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ -บ่อบำบัดที่ 7 Detention Reservoir พื้นที่บ่อ 18.3 ไร่ (29,280 ตารางเมตร) ความลึก 3.5 เมตร ความจุของบ่อ 102,480 ลบ.ม. ระยะเวลากักเก็บน้ำ 8 วัน เป็นบ่อพักน้ำฝนและน้ำที่ผ่านกระบวนการบำบัดแล้ว และมีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนที่จะระบายออกสู่แม่น้ำกวงหรือนำไปใช้ประโยชน์ อื่น ๆ เช่น ใช้เป็นน้ำรดต้นไม้ ระบบป้องกันน้ำท่วม
|
อื่นๆ |
ระบบไฟฟ้า
ระบบโทรศัพท์
|
รายชื่อผู้ใช้ที่ดิน |