กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด จัดตั้งขึ้นตามนโยบายภายใต้โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก หรือ Eastern Seaboard Development Program (ESB) เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2525 ภายใต้แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) เพื่อให้เป็น เขตอุตสาหกรรมที่ทันสมัยในระดับนานาชาติ มีพื้นที่เป้าหมาย ได้แก่ มาบตาพุด จังหวัดระยอง และแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี
จากแผนพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก กำหนดให้บริเวณพื้นที่มาบตาพุด เป็นแหล่งที่ตั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดเป็นสาธารณูปโภคหลัก หลังจากศึกษาความเป็นไปได้รัฐบาลได้มีการวางแผนพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2526 ต่อมาในปี พ.ศ.2531 ความต้องการใช้ท่าเรือขนถ่ายสินค้าเหลวจากกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และสินค้าทั่วไป มีความชัดเจนมากขึ้น วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2531 รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรีจึงมีมติมอบหมายให้ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ปรับปรุงรูปแบบการก่อสร้างที่มีอยู่แล้ว และดำเนินการก่อสร้างให้เหมาะสมกับสภาพความต้องการใช้ท่าในขณะนั้น ในเดือนตุลาคม 2532 กนอ. จึงได้เริ่มก่อสร้างท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด และก่อสร้างเสร็จตามโครงการเมื่อเดือนมีนาคม 2535 มีเรือเข้าเทียบท่าลำแรกเมื่อ วันที่ 27 มีนาคม 2535 ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ถือเป็นท่าเรือที่ใหญ่และทันสมัย ซึ่งนับเป็นปัจจัยพื้นฐานที่อำนวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สำหรับประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยแบ่งตามลักษณะการลงทุนออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
1. ท่าเรือสาธารณะ (Public Berths) หมายถึง ท่าเรือที่ไม่จำกัดผู้ใช้บริการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างท่าเทียบเรือ และสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน มีผู้ประกอบการทั้งหมด 3 ราย
ท่าเทียบเรือทั่วไป
- ท่าเทียบเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด (Mapthphut Industrial Teminal : MIT) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สำนักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เป็นผู้บริหารจัดการ
- ท่าเทียบเรือสินค้าทั่วไป บริษัท ไทย คอนเน็คทิวิตี เทอมินอล จำกัด (TCT) ได้รับสิทธิการบริหารจัดการท่าเรือเป็นระยะเวลา 30 ปี
ท่าเทียบเรือสินค้าเหลว บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัลจำกัด (TTT) ได้รับสิทธิการบริหารจัดการท่าเรือเป็นระยะเวลา 30 ปี
2. ท่าเรือเฉพาะกิจ (Specific Berth) หมายถึง ท่าเรือที่จำกัดจำนวนผู้ใช้บริการเฉพาะในกลุ่มของผู้ประกอบการเท่านั้น โดยผู้ประกอบการเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างท่าเทียบเรือและสิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานเองทั้งหมด มีทั้งสิ้น 9 ราย
1. บริษัท เอ็นเอฟซี จำกัด (มหาชน)
2. บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (มหาชน)
3. บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
4. บริษัท มาบตาพุด แทงค์ เทอร์มินัล จำกัด
5. บริษัท โกลว์ เอสพีพี3 จำกัด
6. บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จำกัด
7. บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด
8. บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำกัด
9. บริษัท ระยอง เทอร์มินัล จำกัด