กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
นายวีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่ กนอ.ร่วมกับองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (Chief Representative of Japan International Cooperation Agency Thailand Office หรือ JICA) และบริษัท ชิชิบุ เคมิคัล จำกัด ผู้นำด้านเทคโนโลยีพลาสติกจากประเทศญี่ปุ่น ดำเนินโครงการสาธิตนำร่องเพื่อการวิจัยก่อสร้างบ่อกักเก็บน้ำฝนใต้ดินด้วยโครงสร้างพลาสติกกักเก็บน้ำฝน (Plastic Rainwater Storage Structure : PRSS) โดยจัดทำโครงการนำร่องแห่งแรกที่นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังมาตั้งแต่ปี 2562 โดยปัจจุบันดำเนินการแล้วเสร็จและทดลองระบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ระบบ New Pla-kun (นิวปากุน) เป็นระบบการเก็บน้ำใต้ดินซึ่งถือเป็นนวัตกรรม (Innovation) ที่สามารถนำไปใช้ได้ในหลายๆ พื้นที่ที่เป็นที่ว่างในนิคมอุตสาหกรรมหรือโรงงาน และที่อยู่อาศัยทั่วไป โดยระบบดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นเพื่อป้องกันภัยพิบัติจากอุทกภัยด้วยการจัดเก็บน้ำฝนลงสู่ Media ในชั้นใต้ดินที่ทำจากโครงสร้างพลาสติกรีไซเคิลนำ้หนักเบาเพื่อกักเก็บน้ำฝน มีลักษณะเป็นแผงติดตั้งไว้ใต้ดิน สามารถเพิ่มจำนวนชั้นได้สูงสุด 10 ชั้น ซึ่งสามารถกักเก็บน้ำไว้ได้มากกว่า 95% ของนำ้หนัก New Pla-kun (นิวปากุน) โดยไม่ทำลายวัฏจักรของน้ำ และมีอายุใช้งานนานถึง 50 ปี โดยโครงสร้าง Plastic Rainwater Storage Structure หรือ PRSS แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการทำงาน คือ 1. โครงสร้างจัดเก็บแบบซึมน้ำ เมื่อน้ำฝนถูกเก็บไว้ภายใน จะค่อยๆ แทรกซึมเข้าไปในชั้นพื้นดิน สามารถช่วยเติมน้ำใต้ดินแก่พื้นที่ที่มีปัญหาดินทรุดจากการขุดเจาะน้ำบาดาล และชะลอการทรุดลงของพื้นดิน และ 2.โครงสร้างจัดเก็บแบบไม่ซึมซับน้ำ นอกจากจะสามารถกักเก็บน้ำฝนไว้ภายในช่วยป้องกันน้ำท่วมได้แล้ว ยังสามารถนำน้ำฝนใต้ดินเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้อีกด้วย เช่น รดน้ำต้นไม้ ซักล้าง ฯลฯ สำหรับการติดตั้งโครงสร้าง PRSS ที่นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นบ่อหน่วงน้ำป้องกันปัญหาน้ำท่วมขังเป็นหลัก สามารถกักเก็บน้ำฝนไว้ใต้ดินได้มากถึง 300 ลูกบาศก์เมตร และจะค่อยๆ ปล่อยน้ำออกผ่านท่อระบายน้ำในภายหลัง
“ระบบ New Pla-kun เป็นระบบที่น่าสนใจ และสามารถใช้งานได้ผลเป็นอย่างดีในแปลงสาธิตของนิคมฯ ลาดกระบัง ทั้งนี้ การนำไปประยุกต์ใช้จริงในนิคมฯ ต่างๆ คงต้องพิจารณาด้วยว่า นิคมฯ ที่กำลังจะเกิดขึ้นใหม่นั้นสามารถออกแบบและนำระบบ New Pla-kun ไปใช้ในพื้นที่ต่างๆ เช่น อาคารจอดรถ หรือพื้นที่ของโรงงานในส่วนที่ไม่ต้องรองรับน้ำหนักมากได้หรือไม่ รวมถึงคงต้องมีการหารือกันเพิ่มเติมในส่วนของข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ของ กนอ.ด้วยว่า มีแนวทางสนับสนุนให้กับผู้ประกอบการเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรต่อไปในอนาคต”นายวีริศ กล่าวทิ้งท้าย
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ลงนามความร่วมมือ มูลนิธิเพื่อสถาบันปิโตรเลียมและพลังงานแห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยมหิดล ศึกษาแนวทางจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) โดยเฉพาะสารเบนซีน และ 1,3 - บิวทาไดอีน ในพื้นที่มาบตาพุด เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อชั้นบรรยากาศ ดันสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน
กนอ. ลงนามสัญญาซื้อขายน้ำดิบผ่านระบบท่อ สำหรับนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง กับบริษัท วงษ์สยามก่อสร้าง จำกัด
กนอ. จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เรื่อง การสนับสนุนการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่าย กับมูลนิธิเพื่อสถาบันปิโตรเลียมและพลังงานแห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยมหิดล (คณะสาธารณสุขศาสตร์)
ประชุมหารือเพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินการเปลี่ยนแปลงสภาพสาธารณสมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกันในเขตนิคมอุตสาหกรรม