กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
นายวีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ได้เข้าร่วมกิจกรรมทดสอบสมรรถนะรถยนต์ ซึ่งจัดโดย 4 บริษัทภาคี คอมเมอร์เชียล เจแปน พาร์ทเนอร์ชิบ เทคโนโลยี คอร์เปอร์เรชั่น (Commercial Japan Partnership Technologies : CJPT) ประกอบด้วย บริษัท อีซูซุมอเตอร์ส จำกัด, บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น, บริษัท ซูซุกิ มอเตอร์ คอร์เปอร์เรชั่น และบริษัท ไดฮัทสุ มอเตอร์ จำกัด ร่วมกับบริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส จำกัด โดยภายในงานมีการจัดแสดงรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ภายใต้แนวคิด CASE (Connected, Autonomous, Shared, Electric) เพื่อลดปัญหาที่พบในระบบขนส่ง รวมถึงการจัดการด้านพลังงาน (Energy Solution) ทางเลือกด้านการขับเคลื่อน (Mobility Solution) เช่น การจัดสรรยานพาหนะตามเป้าหมายการใช้งานอย่างเหมาะสม การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ และการจัดการบริหารข้อมูล (Data Solution)
“แนวคิดของ CJPT เป็นการพัฒนาระบบยานยนต์แห่งอนาคตในแง่ของทางเลือกด้านพลังงานทดแทน การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพลังงาน และการเดินทาง ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ กนอ.ในการประกาศเจตนารมณ์ให้นิคมอุตสาหกรรมสมาร์ท ปาร์ค (Smart Park) มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน ด้วยการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และไม่อนุญาตให้มีปล่องระบายมลพิษทางอากาศ โดย กนอ.จะนำแนวคิดที่ได้ไปส่งเสริมการจัดการพลังงานภายในนิคมอุตสาหกรรมสมาร์ท ปาร์ค (Smart Park) อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด อาทิ การใช้พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ทดแทนการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากฟอสซิล เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานไฮโดรเจน และพลังงานชีวภาพ เป็นต้น รวมถึงส่งเสริมระบบการขนส่งภายในโครงการที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานสะอาดและปล่อยมลพิษเป็นศูนย์ คาดว่าจะสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระยะดำเนินการได้ถึงร้อยละ 70 เมื่อเทียบกับนิคมอุตสาหกรรมที่พัฒนาบนพื้นฐานเดิม อย่างไรก็ตาม ในอนาคตอาจจะสร้างความร่วมมือในการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์โดยใช้พลังงานสะอาด หรือพลังงานไฮโดรเจน เป็นพลังงานทางเลือกใหม่ รวมทั้งพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการสำหรับยานยนต์ที่พัฒนาเทคโนโลยีและโซลูชันยานยนต์ใหม่ ครอบคลุมถึงรถบัสและรถจักรยานยนต์ เพื่อสนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงต่ำในการคมนาคมแต่ให้ประสิทธิภาพสูง อาทิ รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle: BEV) รถยนต์ไฟฟ้าไฮบริด (Hybrid Electric Vehicle: HEV) และรถยนต์ไฟฟ้าเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicle: FCEV) ) เป็นต้น” นายวีริศ กล่าว
โครงการ CJPT ปักหมุดก้าวแรกจากประเทศไทย และมีแผนขยายการใช้เทคโนโลยีเพื่อลดคาร์บอนสู่ตลาดในภูมิภาคเอเชีย ภายใต้ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อยกระดับชีวิตของคนในภูมิภาค ขณะเดียวกันยังนำเสนอทางเลือกด้านการขับเคลื่อนที่เหมาะสม คำนึงถึงสภาพแวดล้อมในภูมิภาค เพื่อบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน
รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. มอบหมายให้ นายธีรวุฒิ เจริญสุข ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 1) เป็นผู้แทนเข้าร่วมกิจกรรม Kick off รวมพลังจิตอาสา DIPROM Transformation day ภายใต้โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ DIPROM พระราม 4
รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริหารสัญญาจ้างให้บริหารและจัดการ (OMA) ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2566
รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานการจัดการแข่งขัน ”การแข่งขันกอล์ฟการกุศล การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย” จัดโดย ชมรมกอล์ฟการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. พร้อมด้วยผู้บริหาร กนอ. ประชุมหารือร่วมกับ นายนฤตม์ เทอดสถีรศักดิ์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และคณะ เพื่อเตรียมความพร้อมวางกลไกในการรับรองการเป็นนิคมฯ อัจฉริยะ (SMART I.E.) และพื้นที่ประกอบการอัจฉริยะ (SMART I.Z.)