กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
วันที่ 18 มิถุนายน 2567 กรมโยธาธิการและผังเมือง การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร ร่วมประชุมหารือการกำหนดหลักเกณฑ์ การวางผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ในพื้นที่เขต EEC โดยมี พลเอกกนิษฐ์ ชาญปรีชญา กรรมการคณะกรรมการ กนอ. พร้อมด้วยนางนิภา รุกขมธุร์ รองผู้ว่าการ (ยุทธศาสตร์) นางบุปผา กวินวศิน รองผู้ว่าการ (พัฒนาที่ยั่งยืน) นางกนกพร ปทุมโรจน์ สวัสดิ์-ชูโต ผู้อำนายการฝ่ายพัฒนาและวิศวกรรม และผู้บริหาร กนอ. ร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมนริศรานุสรณ์ กรมโยธาธิการและผังเมือง
ทั้งนี้ กนอ. ได้นำเสนอแผนงานโครงการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมดำเนินงานในพื้นที่เขต EEC จำนวน 37 โครงการ เพื่อให้สามารถพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมได้ โดยไม่ขัดต่อการวางและจัดทำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ซึ่งกำลังดำเนินการวางและจัดทำผังอยู่ในพื้นที่เขต EEC กรมโยธาธิการและผังเมืองได้พิจารณาพื้นที่ชุมชนชนบท (ชบ.) พื้นที่ประมาณ 2 ล้านไร่ ตามแผนผัง EEC โดยนำข้อกำหนดเชิงพื้นที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม พื้นที่ส่งเสริมการเกษตร เขตชลประทาน เป็นต้น เป็นปัจจัยพื้นที่กั้นออก ทำให้ได้พื้นที่เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในเบื้องต้น ประมาณ 1.2 ล้านไร่ กรมโยธาธิการและผังเมืองจะเสนอหลักเกณฑ์ และผลการพิจารณาดังกล่าวต่อที่ประชุมคณะกรรมการผังเมือง และใช้เป็นแนวทางในการวางและจัดทำผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน กำหนดเป็นประเภทที่ดินใหม่ “ที่ดินประเภทเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและคลังสินค้า (เขตสีเขียวมีเส้นทแยงสีม่วง)” ต่อไป
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) จับมือ บริษัท อารยะ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ จำกัด เปิดตัวนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศครบวงจร กว่า 1,891 ไร่ บนพื้นที่ของ “อารยะ ดิ อีสเทิร์น เกตเวย์”รองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต ทั้งเซมิคอนดักเตอร์-EV- Data Center ตั้งเป้าดึงดูดเมกะโปรเจกต์ลงทุน สร้างระบบนิเวศอุตสาหกรรม-นวัตกรรมที่ยั่งยืน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่เวทีโลก
กนอ. ร่วมดำเนินงานกับบริษัท อารยะ แลนด์ ดีเวลลอปเม้นต์ จำกัด จัดตั้ง ”นิคมอุตสาหกรรมอารยะ” ซึ่งเป็นนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศครบวงจรบนพื้นที่กว่า 1,891 ไร่ ภายใต้โครงการ ”อารยะ ดิ อีสเทิร์น เกตเวย์” รองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต ตั้งเป้าดึงดูดเมกะโปรเจกต์ลงทุน ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่เวทีโลก
กนอ. ผนึกกำลังพันธมิตรส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย ภายใต้แคมเปญ ”NOW Thailand Sustainovate the Future” พร้อมเปิดตัวกิจกรรม Friends of I-EA-T ระหว่างวันที่ 22-23 เมษายน 2568 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
กนอ.? จัดการสัมมนาเผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการศึกษาวิเคราะห์ฐานข้อมูลความเสี่ยงอันตรายจากการประกอบกิจการของโรงงาน